top of page
Gary_02.jpg

ABOUT

Urban Heritage and Community Development International Field School

Since 2012, NUS School of Design and Environment have successfully organized six Heritage Field Schools/ Workshops based at Tun Tan Cheng Lock Centre for Asian Architectural and Urban Heritage (TTCL) in Malacca and School of Design and Environment (SDE), National University of Singapore (NUS). This Field School will explore the intrinsic multi-layered indigenous life of historic inner urban area of Ban Panthom to understand the dynamics between rapidly transforming urban spaces and functions, mainly in the developing Asian cities. It will also address how the historic quarters of a city can play a role in preserving its identity while continues to create better livelihoods and adequate housing and infrastructure. This Field School will extend the knowledge to understand the role of communities in heritage conservation as a vital part of wider historic urban landscape management.Through a combination of lectures, field-trips, and interaction with various stakeholders, participants will learn the general principles and practices of managing change in rapidly transforming historic urban cores due to various socio-economic factors urban heritage management.

During the Field School, participants will study the different architectural styles in Ban Panthom area by documenting the various residential typologies along the Pariyanok Road. In addition, the study will involve exploration of the dynamic daily-cycle of the public spaces and activities that defines this neighbourhood and connect it with other parts of Bangkok. explore how heritage values are identified, evaluated, preserved, and presented; and the critical role of community participation in sustainable urban development. It will profile as to how international and national legal instruments for safeguarding cultural diversity, governance structures, and local area planning intersect within integrated and interdisciplinary management. It will also provide a critical introduction to community mapping; cultural tourism management; United Nations’ Sustainable Development Goals; and Historic Urban Landscape. The Field School will provide first-hand experience to participants, as capacity building for locating heritage and culture in sustainable development in a rapidly globalising Asia.

สถาบันออกแบบและสิ่งแวดล้อม (SDE) แห่งมหาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (NUS) ร่วมด้วยศูนย์ ตุน ตัน เชง ลอค (TTCLC) ในมะละกานั้นได้จัดโครงการลงพื้นที่ตั้งแต่ปี 2012 ซึ่งได้ประสบความสำเร็จมาแล้วถึง 6 กิจกรรมด้วยกัน

โครงการครั้งนี้นั้นมุ่งที่จะศึกษาชึวิตพื้นถิ่นของชุมชนเก่าบ้านพานถม เพื่อเผยแพร่ความรู้สู่ความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงที่ฉับพลันของพื้นที่และฟังค์ชั่นของเมืองในประเทศกำลังพัฒนาแถบเอเชีย โดยจะคำนึงถึงบทบาทของชุมชนเก่าในการสร้างอัตลักษ์และความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนในเมือง

ตลอดการบรรยายและลงพื้นที่ เหล่านักเรียนและวิทยากรได้มีปฏิสัมพันธ์ กับชุมชนโดยตรง นักเรียนจะได้เรียนรู้หลักการ และวิธีการของการจัดการ มรดกทางวัฒนธรรมท่ามกลางวิถีชีวิตในพื้นที่และการก้าวผ่านปัญหาของชุมชนเก่าบ้านพานถม นอกจากนั้นนักเรียนจะได้เรียนรู้การบันทึกสถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัยบนถนนปรินายก และศึกษาควาสัมพันธ์ระหว่างชุมชนบ้านพานถมและพื้นที่อื่นๆในกรุงเทพมหานครฯ

ในระหว่าง 3 สัปดาห์ของการลงพื้นที่ นักศึกษาสามารถสืบรู้ถึงคุณค่าทางมรดก การเก็บรักษาไว้ และการสืบทอด บทบาทที่สำคัญของการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม จะทำให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการ จัดการมรดกทางวัฒนธรรมและการจัดการการท่องเที่ยว เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ซึ่งนอกจากจะได้เรียนรู้การผลักดันให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาพื้นที่ของตนแล้วนั้น นักเรียนยังต้องคำนึงถึงบทบาทของกฎหมายท้องถิ่นและนานาชาติในการจัดการท้องที่ชุมชนตามปณิธานของสหประชาชาติอีกด้วย

โครงการนี้จะมอบประสบการณ์และเพิ่มขีดความสามารถในการคงไว้ซึ่งมรดกและวัฒนธรรม และเรียนรู้ถึงวิธึการการพัฒนาชุมชนเก่าอย่างยั่งยืนในเอเชีย

bottom of page